งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน สนองพระราชดำริ โดย วิทยาลัยอาชีวศึกษาสกลนคร
ปีการศึกษา 2564
ด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ
1.1 สถานศึกษาและชุมชนมีส่วนร่วมในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
1.1.2 หลักฐานที่แสดงถึงการมีส่วนร่วม
1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
1.2.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ฯ ในแต่ละปี 4 ด้าน
1.2.2 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ฯ 5 องค์ประกอบ
1.2.3 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ฯ พืชศึกษา
1.3 วางแผนการบริหารและแผนการจัดการเรียนรู้
1.3.1 แผนการดำเนินงานด้านการบริหาร
1.3.2 การจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน
1.4 ดำเนินงานตามแผน
1.4.1 เอกสารสรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานสวนฯ
1.4.3 หนังสือขอบคุณผู้ร่วมประชุม
1.5 สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน
1.5.1 ผลการดำเนินงาน 5 องค์ประกอบ
1.6 วิเคราะห์ผลและปรับปรุงพัฒนางาน
1.6.1 วิเคราะห์ปัญหา และหาข้อสรุป
1.6.2 วางแผน ปรับปรุง และพัฒนาการดำเนินงานในปีต่อไป
1.7 รายงานผลการดำเนินงาน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
1.7.1 รายงานรูปเล่ม ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง
1.7.2 รายงานเล่มพืชศึกษา ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง
ด้านที่ 2 การดำเนินงาน
องค์ประกอบที่ 1 การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
1.1 การกำหนดพื้นที่ และการสำรวจพรรณไม้
1.1.1 การกำหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษา
1.2 การทำพังพรรณไม้
1.2.2 การทำผังแสดงพรรณไม้เฉพาะพื้นที่ การจัดทำผังพรรณไม้ รวมทั้งโรงเรียน
1.3 การศึกษาพรรณไม้ในโรงเรียน
1.3.1 การศึกษาพรรณไม้ในสวนฯ (ก.7-003) ครบทุกชนิดในทะเบียนพรรณไม้ (ก.7-005)
1.3.3 การนำข้อมูลมาเปรียบเทียบกับเอกสารเพื่อรู้ชื่อวิทยาศาสตร์
1.4 การทำตัวอย่างพรรณไม้แห้ง ดอง เฉพาะส่วน
1.4.1 การจัดทำตัวอย่างพรรณไม้ ครบทุกชนิดในทะเบียนพรรณไม้
1.4.3 ระบบการจัดเก็บ และสืบค้นได้ วิธีการจัดเก็บเอกสาร
1.5 การทำทะเบียนพรรณไม้ (ก.7-005)
1.5.1 การทำทะเบียนพรรณไม้ ตามแบบ อพ. สธ.
1.5.2 ระบบการจัดเก็บและสืบค้นได้
1.6 การทำป้ายชื่อพรรณไม้ที่สมบูรณ์
1.6.1 การร่างป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์
1.6.2 การทำป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์
1.6.3 การติดแสดงป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์
องค์ประกอบที่ 2 การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน
2.1 การสำรวจสภาพภูมิศาสตร์และการศึกษาธรรมชาติ
2.1.1 รายงานสภาพภูมิศาสตร์ของพื้นที่ตามผังพรรณไม้ ฝึกการวิเคราะห์
2.1.2 รายงานการศึกษาพรรณไม้ที่จะนำมาปลูก ที่อยู่ในสภาพธรรมชาติ
2.2 กำหนดชนิดพรรณไม้ที่จะปลูกและกำหนดการใช้ประโยชน์ ฝึกการวิเคราะห์
2.2.1 กำหนดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่
2.2.2 กำหนดชนิดพรรณไม้ที่จะปลูก
2.4 การจัดหาพรรณไม้และการปลูกพรรณไม้
2.4.1 การสนับสนุน (หน่วยงานต่าง ๆ ชุมชน ผู้ปกครอง)
2.4.2 การขยายพันธุ์ การตอน การเพาะเม็ด การปักชำ การติดตา
2.5 การศึกษาพรรณไม้หลังการปลูก
2.5.3 การบันทึกความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย
2.5.4 การศึกษาคุณและสุนทรียภาพพรรณไม้ที่ปลูก คุณที่เกิดแก้สรรพสัตว์ คุณที่เกิดแก่คน คุณที่เกิดแก่สถานศึกษา
องค์ประกอบที่ 3 การศึกษาข้อมูลด้านต่าง ๆ
3.1 การศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษาศาสตร์โรงเรียน (ก.7-003) ครบตามทะเบียนพรรณไม้
3.1.1 การมีส่วนร่วมของผู้ศึกษา
3.1.4 การสรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
3.1.5 การสืบค้นข้อมูลพฤกษศาสตร์
3.1.6 การบันทึกข้อมูลเพิ่มเติม
3.1.8 ความเป็นระเบียบ ความตั้งใจ
3.2 การศึกษาพรรณไม้ที่สนใจ (พืชศึกษา)
3.2.1 การศึกษาลักษณะภายนอก ภายในของพืชแต่ละส่วนโดยละเอียด
3.2.2 การกำหนดเรื่องที่จะเรียนรู้ในแต่ละส่วนของพืช
3.2.3 การเรียนรู้แต่ละเรื่อง แต่ละส่วนขององค์ประกอบย่อย
3.2.4 การนำข้อมูลมาเปรียบเทียบความต่างในแต่ละเรื่องในชนิดเดียวกัน
องค์ประกอบที่ 4 การรายงานผลการเรียนรู้
4.1 รวบรวมผลการเรียนรู้ คัดแยกสาระสำคัญ และจัดเป็นหมวดหมู่
4.2 การเขียนรายงานแบบวิชาการ แบบบูรณาการ
4.2.2 การเรียบเรียงสาระเป็นภาษาที่สื่อสาร กระชับ ได้ใจความ
4.2.3 รูปแบบและความเรียบร้อยของรายงาน
4.3 วิธีการรายงานผลในรูปแบบต่าง ๆ
4.3.1 แบบเอกสาร เช่น หนังสือ แผ่นพับ ชีดี
4.3.2 แบบบรรยาย เช่น การเล่านิทาน อภิปราย สัมมนา
องค์ประกอบที่ 5 การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
5.1 การนำสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนบูรณาการสู่การเรียนการสอน
5.1.1 แผนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้หรือระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้
5.2 การเผยแพร่องค์ความรู้
5.2.1 การบรรยาย เช่น การสนทนา เสวนา สัมมนา อภิปราย
5.3 การใช้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้
5.3.1 บันทึกข้อมูลการใช้พื้นที่สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
5.3.2 บันทึกข้อมูลการใช้พื้นที่สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พิพิธภัณฑ์เฉพาะเรื่อง พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
5.3.3 บันทึกข้อมูลการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ด้านที่ 3 ผลการดำเนินงาน
3.1 สภาพแวดล้อมทั่วไปของสถานศึกษา มีความสะอาด เป็นระเบียบ ร่มรื่น น่าอยู่
3.2 สถานศึกษา มีบรรยากาศของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
3.2.1 มีความเบิกบาน มีชีวิตชีวา
3.2.2 มีบรรยากาศของการเรียนรู้
3.2.3 มีแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม
3.3 บุคลากร และผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
3.3.6 มีความเอื้ออาทร เกื้อหนุน
3.3.8 การดูแล และรักษาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน วัสดุ อุปกรณ์
3.4 ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา บุคลากร และผู้เรียน ที่เป็นที่ยอมรับ
3.4.1 การใช้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ โดยมีส่วนร่วมระหว่างผู้เรียนและชุมชน
3.4.2 การเยี่ยมชมงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
3.4.3 การไปให้ความรู้เกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ด้านที่ 4 ความถูกต้องทางวิชาการ
4.1 ตัวอย่างพรรณไม้และการศึกษาพรรณไม้
4.1.1 ตัวอย่างพรรณไม้เฉพาะส่วน
4.2 ทะเบียนพรรณไม้และภาพถ่ายพรรณไม้
ปีการศึกษา 2565
ด้านที่ 1 การบริหารและการจัดการ
1.1 สถานศึกษาและชุมชนมีส่วนร่วมในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
1.1.2 หลักฐานที่แสดงถึงการมีส่วนร่วม
1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
1.2.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ฯ ในแต่ละปี 4 ด้าน
1.2.2 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ฯ 5 องค์ประกอบ
1.2.3 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ฯ พืชศึกษา
1.3 วางแผนการบริหารและแผนการจัดการเรียนรู้
1.3.1 แผนการดำเนินงานด้านการบริหาร
1.3.2 การจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน
1.4 ดำเนินงานตามแผน
1.4.1 เอกสารสรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานสวนฯ
1.4.3 หนังสือขอบคุณผู้ร่วมประชุม
1.5 สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน
1.5.1 ผลการดำเนินงาน 5 องค์ประกอบ
1.6 วิเคราะห์ผลและปรับปรุงพัฒนางาน
1.6.1 วิเคราะห์ปัญหา และหาข้อสรุป
1.6.2 วางแผน ปรับปรุง และพัฒนาการดำเนินงานในปีต่อไป
1.7 รายงานผลการดำเนินงาน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
1.7.1 รายงานรูปเล่ม ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง
1.7.2 รายงานเล่มพืชศึกษา ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง
ด้านที่ 2 การดำเนินงาน
องค์ประกอบที่ 1 การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
1.1 การกำหนดพื้นที่ และการสำรวจพรรณไม้
1.1.1 การกำหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษา
1.2 การทำพังพรรณไม้
1.2.2 การทำผังแสดงพรรณไม้เฉพาะพื้นที่ การจัดทำผังพรรณไม้ รวมทั้งโรงเรียน
1.3 การศึกษาพรรณไม้ในโรงเรียน
1.3.1 การศึกษาพรรณไม้ในสวนฯ (ก.7-003) ครบทุกชนิดในทะเบียนพรรณไม้ (ก.7-005)
1.3.3 การนำข้อมูลมาเปรียบเทียบกับเอกสารเพื่อรู้ชื่อวิทยาศาสตร์
1.4 การทำตัวอย่างพรรณไม้แห้ง ดอง เฉพาะส่วน
1.4.1 การจัดทำตัวอย่างพรรณไม้ ครบทุกชนิดในทะเบียนพรรณไม้
1.4.3 ระบบการจัดเก็บ และสืบค้นได้ วิธีการจัดเก็บเอกสาร
1.5 การทำทะเบียนพรรณไม้ (ก.7-005)
1.5.1 การทำทะเบียนพรรณไม้ ตามแบบ อพ. สธ.
1.5.2 ระบบการจัดเก็บและสืบค้นได้
1.6 การทำป้ายชื่อพรรณไม้ที่สมบูรณ์
1.6.1 การร่างป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์
1.6.2 การทำป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์
1.6.3 การติดแสดงป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์
องค์ประกอบที่ 2 การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน
2.1 การสำรวจสภาพภูมิศาสตร์และการศึกษาธรรมชาติ
2.1.1 รายงานสภาพภูมิศาสตร์ของพื้นที่ตามผังพรรณไม้ ฝึกการวิเคราะห์
2.1.2 รายงานการศึกษาพรรณไม้ที่จะนำมาปลูก ที่อยู่ในสภาพธรรมชาติ
2.2 กำหนดชนิดพรรณไม้ที่จะปลูกและกำหนดการใช้ประโยชน์ ฝึกการวิเคราะห์
2.2.1 กำหนดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่
2.2.2 กำหนดชนิดพรรณไม้ที่จะปลูก
2.4 การจัดหาพรรณไม้และการปลูกพรรณไม้
2.4.1 การสนับสนุน (หน่วยงานต่าง ๆ ชุมชน ผู้ปกครอง)
2.4.2 การขยายพันธุ์ การตอน การเพาะเม็ด การปักชำ การติดตา
2.5 การศึกษาพรรณไม้หลังการปลูก
2.5.3 การบันทึกความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย
2.5.4 การศึกษาคุณและสุนทรียภาพพรรณไม้ที่ปลูก คุณที่เกิดแก้สรรพสัตว์ คุณที่เกิดแก่คน คุณที่เกิดแก่สถานศึกษา
องค์ประกอบที่ 3 การศึกษาข้อมูลด้านต่าง ๆ
3.1 การศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษาศาสตร์โรงเรียน (ก.7-003) ครบตามทะเบียนพรรณไม้
3.1.1 การมีส่วนร่วมของผู้ศึกษา
3.1.4 การสรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
3.1.5 การสืบค้นข้อมูลพฤกษศาสตร์
3.1.6 การบันทึกข้อมูลเพิ่มเติม
3.1.8 ความเป็นระเบียบ ความตั้งใจ
3.2 การศึกษาพรรณไม้ที่สนใจ (พืชศึกษา)
3.2.1 การศึกษาลักษณะภายนอก ภายในของพืชแต่ละส่วนโดยละเอียด
3.2.2 การกำหนดเรื่องที่จะเรียนรู้ในแต่ละส่วนของพืช
3.2.3 การเรียนรู้แต่ละเรื่อง แต่ละส่วนขององค์ประกอบย่อย
3.2.4 การนำข้อมูลมาเปรียบเทียบความต่างในแต่ละเรื่องในชนิดเดียวกัน
องค์ประกอบที่ 4 การรายงานผลการเรียนรู้
4.1 รวบรวมผลการเรียนรู้ คัดแยกสาระสำคัญ และจัดเป็นหมวดหมู่
4.2 การเขียนรายงานแบบวิชาการ แบบบูรณาการ
4.2.2 การเรียบเรียงสาระเป็นภาษาที่สื่อสาร กระชับ ได้ใจความ
4.2.3 รูปแบบและความเรียบร้อยของรายงาน
4.3 วิธีการรายงานผลในรูปแบบต่าง ๆ
4.3.1 แบบเอกสาร เช่น หนังสือ แผ่นพับ ชีดี
4.3.2 แบบบรรยาย เช่น การเล่านิทาน อภิปราย สัมมนา
องค์ประกอบที่ 5 การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
5.1 การนำสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนบูรณาการสู่การเรียนการสอน
5.1.1 แผนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้หรือระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้
5.2 การเผยแพร่องค์ความรู้
5.2.1 การบรรยาย เช่น การสนทนา เสวนา สัมมนา อภิปราย
5.3 การใช้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้
5.3.1 บันทึกข้อมูลการใช้พื้นที่สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
5.3.2 บันทึกข้อมูลการใช้พื้นที่สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน พิพิธภัณฑ์เฉพาะเรื่อง พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
5.3.3 บันทึกข้อมูลการพัฒนาแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ด้านที่ 3 ผลการดำเนินงาน
3.1 สภาพแวดล้อมทั่วไปของสถานศึกษา มีความสะอาด เป็นระเบียบ ร่มรื่น น่าอยู่
3.2 สถานศึกษา มีบรรยากาศของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
3.2.1 มีความเบิกบาน มีชีวิตชีวา
3.2.2 มีบรรยากาศของการเรียนรู้
3.2.3 มีแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม
3.3 บุคลากร และผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
3.3.6 มีความเอื้ออาทร เกื้อหนุน
3.3.8 การดูแล และรักษาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน วัสดุ อุปกรณ์
3.4 ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา บุคลากร และผู้เรียน ที่เป็นที่ยอมรับ
3.4.1 การใช้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ โดยมีส่วนร่วมระหว่างผู้เรียนและชุมชน
3.4.2 การเยี่ยมชมงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
3.4.3 การไปให้ความรู้เกี่ยวกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ด้านที่ 4 ความถูกต้องทางวิชาการ
4.1 ตัวอย่างพรรณไม้และการศึกษาพรรณไม้
4.1.1 ตัวอย่างพรรณไม้เฉพาะส่วน
4.2 ทะเบียนพรรณไม้และภาพถ่ายพรรณไม้